ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ชมรมบริหารงานบุคคล
dot
bulletสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย
bulletชมรมบริหารงานบุคคล
bulletชมรมบริหารงานบุคคล อยุธยา
bulletชมรมบริหารงานบุคคลรังสิต
bulletชมรมผู้บริหารงานบุคคล อมตะนคร
bulletสมาคมการบริหารงานบุคคล (PAAs)
bulletชมรมบริหารงานบุคคลบางพลี
bulletชมรมนักบริหารงานบุคคลพัทยา
bulletชมรมบริหารงานบุคคลยุคใหม่
bulletชมรมผู้บริหารงานบุคคลจังหวัดราชบุรี
bulletงานบริหารงานบุคคล
bulletชมรมงานบริหารงานบุคคลกรุงเทพฯ
bulletชมรมบริหารงานบุคลสุขสวัสดิ์
dot
ติดต่อราชการศาล
dot
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลแรงงานภาค ๒
bulletศาลยุติธรรม
bulletศาลปกครอง
bulletศาลรัฐธรมนูญ
bulletสำนักงานอัยการสูงสุด
bulletกระทรวงยุติธรรม
bulletคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletกรมบังคับคดี
bulletสภาทนายความ
dot
หน่วยงานราชการสำคัญ
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมบัญชีกลาง
bulletกรมพัฒนาธุรกิจกาค้า
bulletกระทรวงอุตสาหกรรม
bulletกรมโรงงานอุตสาหกรรม
bulletกรมส่งเสริมอุตสาหรม
bulletการนิคมอุตสาหกรรม
dot
ลิ้งค์เพื่อนบ้าน
dot
bulletสมบัติลีกัล
bulletเอกเซลสำหรับงาน HR โดย อ.สำเริง
bulletบทความดี ๆ จากโกป้อม
dot
อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
dot
dot
Newsletter

dot


พยากรณ์อากาศวันนี้
..................................


ราคาน้ำมันวันนี้
..................................



"ไขมันทรานส์" คืออะไร? ไม่ดียังไง? ทำไมต้องแบน? article

 "ไขมันทรานส์" คืออะไร? ไม่ดียังไง? ทำไมต้องแบน?

ไขมันทรานส์คืออะไร? ทำไมต้องแบน? มารู้จักกับ "ไขมันทรานส์" ให้มากขึ้น พร้อมส่องเมนูฮิต ว่ามีปริมาณไขมันทรานส์มากแค่ไหน!
 

     เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2561 ที่ผ่านมา หลาย ๆ คนคงเห็นประกาศกระทรวงสาธารณสุข เป็นราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับสินค้าที่ใช้ “ไขมันทรานส์” แล้วสงสัยกันไหมว่า “ไขมันทรานส์” คืออะไร? ทำไมต้องแบน? แล้วจะส่งผลอะไรกับอาหารที่บริโภคในชีวิตประจำวันหรือไม่ วันนี้ Wongnai จะมาตอบคำถามที่หลาย ๆ คนสงสัยกัน!
ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid) คืออะไร?

“ไขมันทรานส์” (Trans-fatty acid) คือการแปรรูปกรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated Fatty Acid) ให้กลายเป็นกรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty Acid) ด้วยการเติมไฮโดรเจนเข้าไป
ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)  1ไขมันทรานส์ คือ.jpg
ทำไมต้องแปรรูป?

เพื่อเปลี่ยนสภาพไขมันไม่อิ่มตัวจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง ณ อุณหภูมิห้อง ช่วยให้เก็บได้นานขึ้น ทนความร้อนได้สูงขึ้น ไม่เหม็นหืน และไม่เป็นไข

ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
ทำไมต้องแบนไขมันทรานส์?

“ไขมันทรานส์” นอกจากจะเพิ่มคอเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL-C) แล้ว ยังลดคอเลสเตอรอลตัวที่ดี (HDL-C) อีกด้วย ซึ่งส่งผลโดยตรงกับการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (โรคหัวใจ ไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคอ้วน)
ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
ปริมาณไขมันทรานส์ที่ร่างกายได้รับต่อหนึ่งวันไม่ควรเกินเท่าไหร่?

     ตามที่ FAO/WHO กำหนดไว้ว่าคนเราไม่ควรได้รับไขมันทรานส์เกิน 1% ของพลังงานรวมที่ได้รับ เช่น ถ้าความต้องการพลังงานต่อวันโดยเฉลี่ยคือ 2000 กิโลแคลอรีต่อวัน ปริมาณไขมันทรานส์ที่ไม่ควรได้รับเกินกว่านี้คือ 2.2 กรัม/วัน

ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
ตัวอย่างเมนูที่มีไขมันทรานส์
1โดนัท 5 โดนัท.png

ขนมทรงกลมมีรูตรงกลางที่ใคร ๆ ต่างก็ชอบกิน แต่รู้หรือไม่ว่าโดนัทนั้นผ่านการทอดด้วยเนยขาว ทำให้อุดมไปด้วยไขมันทรานส์ในทุกคำที่กัด!
โดนัท เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
2ขนมปังปิ้งทาเนย (มาการีน)  6 ขนมปังปิ้ง.png

อีกหนึ่งเมนูยอดฮิตที่พลาดไม่ได้เวลาไปร้านนม แต่รู้หรือไม่ว่า แต่ละแผ่นอุดมไปด้วยมาการีนแบบเต็มสูบ! เพราะบางร้านลดต้นทุนด้วยการใช้มาการีนแทนเนยสด เพราะฉนั้นก่อนจะสั่งกินที่ร้านไหน ก็อย่าลืมดูก่อนล่ะว่าที่กินเข้าไปนั้นเป็นมาการีนหรือเนยสด
ขนมปังปิ้งทาเนย เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
3โรตี  7 โรตี.png

สำหรับลิสต์เมนูอุดมไขมันทรานส์ พลาดไม่ได้เลยกับเมนูสตรีทฟู้ดยอดฮิตอย่างโรตี เห็นก้อนเหลือง ๆ ที่ใส่ลงไปก่อนทอดโรตีนั้นไหม มาการีนเน้น ๆ !
โรตี เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
4ครัวซองต์  8 ครัวซอง.png

เมนูเบเกอรี่ยอดฮิตที่พบได้ทั่วไป ถ้าเป็นร้านที่ใช้เนยสดก็จะมีราคาสูงหน่อย เพราะฉนั้นถ้าจะลดต้นทุน ก็ต้องใช้มาการีนแทรกเข้าไปในทุกชั้นของแป้งแทน!
ครัวซองต์ เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
5ข้าวโพดคั่ว  9 ข้าวโพดคั่ว.png

คอหนังจำนวนไม่น้อยที่ชื่นชอบข้าวโพดคั่ว เนื่องจากเป็นขนมที่กินเพลิน เหมาะสุด ๆ สำหรับกินเวลาดูหนัง แต่รู้หรือไม่ว่า การที่จะคั่วข้าวโพดให้แตกนั้นใช้ความร้อนสูงจนทำให้เนยแท้ ๆ ไหม้ได้ ดังนั้นการใช้มาการีนที่ทนความร้อนจึงเป้นทางออกที่ดีเลยทีเดียว
ข้าวโพดคั่ว เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
6ไก่ทอด  10 ไก่ทอด.png

การจะทอดไก่ทอดให้สีเหลืองกรอบน่ารับประทาน บางร้านเลือกที่จะใช้เนยขาวในการทอด เพราะคุณสมบัติทนความร้อน ทำให้อาหารที่นำลงทอดนั้นสีสวย กรอบนาน
ไก่ทอด เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
7เนื้อย่างกระทะร้อน  11 เนื้อย่างกระทะร้อน.png

พลาดไม่ได้กับสายปิ้งย่าง กับเนื้อย่างกระทะร้อนหอมกรุ่นกลิ่นเนย(เทียม) แต่รู้หรือไม่ว่าการจะตั้งกระทะบนเตาถ่านร้อน ๆ เป็นเวลานานนั้น ถ้าใช้เนยสดเนยจะไหม้ง่ายแบบสุด ๆ เพราะฉนั้นตามร้านเนื้อย่างกระทะร้อน ต่างใช้มาการีนเพื่อให้ทนต่อความร้อนกันแทบทั้งนั้น
เนื้อย่างกระทะร้อน เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
8ขนมขาไก่  12 ขนมขาไก่.png

ขนมปี๊บยอดฮิตสำหรับวัยเด็ก กินเป้นประจำเวลาไปออกค่ายหรือทัศนศึกษา ทุกชิ้นที่กินอุดมไปด้วยไขมันทรานส์ เพื่อให้กรอบนาน เก็บได้นาน และไม่เหม็นหืน
ขนมขาไก่ เมนูที่มีไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
ในช่วง 180 วันก่อนราชกิจจานุเบกษาจะถูกบังคับใช้ ควรหลีกเลี่ยงไขมันทรานส์อย่างไร? 13 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข.png
 

- หลีกเลี่ยงอาหารที่มีส่วนผสมของเนยเทียม (Margarine) หรือเนยขาว (Shortening)

- อ่านฉลากโภชนาการทุกครั้ง และหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีข้อความว่า “Partially Hydrogenated Oil” อยู่บนฉลาก

- เลือกใช้น้ำมันพืช เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันรำข้าว น้ำมันถั่วเหลือง

- ดื่มนมไขมันต่ำ (Low fat milk) หรือนมที่ไม่มีไขมัน (Skim milk) แทนนมไขมันเต็มส่วน (Whole milk)
ไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)
หากไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีไขมันทรานส์ แล้วจะใช้อะไรแทน? 14 สิ่งที่ใช้ทดแทน.png

- ในด้านของเบเกอรี่อาจจะต้องเปลี่ยนไปใช้เนยสดแทน ซึ่งอาจจะทำให้มีต้นทุนที่สูงขึ้น อีกทั้งเนื้อสัมผัสอาจจะเปลี่ยนไปจากสูตรเดิม

- ส่วนของทอดซึ่งเดิมทีอาจจะใช้เนยขาวในการทอดเพื่อให้มีเนื้อสัมผัสกรอบอร่อย สามารถเปลี่ยนมาใช้น้ำมันพืช เช่น น้ำมันรำข้าว หรือน้ำมันปาล์ม
วัตถุดิบทดแทนไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid)

     เท่านี้ก็รู้คำตอบกันแล้วใช่ไหมล่ะว่า “ไขมันทรานส์” คืออะไร? และทำไมต้องแบน? การแบนไขมันทรานส์ครั้งนี้ นอกจากจะส่งผลอย่างใหญ่หลวงกับวงการอาหารแล้ว ก็ยังส่งผลไปถึงโรงงานหรือผู้ผลิตสินค้าโดยตรงอีกด้วย ในอนาคตก็อาจจะมีการปรับเปลี่ยนสูตรอาหารบางอย่างทำให้รสชาติดั้งเดิมที่เราเคยกินนั้นหายไป รวมไปถึงผู้ผลิตสินค้าต่าง ๆ ก็ต้องปรับตัวด้วยการปรับเปลี่ยนสูตรผลิตภัณฑ์ทั้งหมดให้ปราศจากไขมันทรานซ์ ซึ่งทั้งนี้ทั้งนั้นสุดท้ายแล้วการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่เกิดขึ้นก็ล้วนแล้วแต่ส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชนทุกคน ก็หวังว่าในอีกไม่ช้าพวกเราจะได้กินอาหารอร่อย ๆ ที่ปราศจากไขมันทรานส์ตัวร้าย และมีผลิตภัณฑ์ทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ ออกมาให้พวกเราได้เลือกสรรกันอย่างมีความสุข

References : 
กองโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, (2013). “ตารางปริมาณไขมันทรานส์ในอาหาร.” เข้าถึงได้จาก: https://www.honestdocs.co/trans-fats-in-baked-and-fried-thai-food  สืบค้น 17 กรกฎาคม 2561 อ่านต่อได้ที่ https://www.wongnai.com/food-tips/trans-fatty-acid-knowledge?ref=ct&utm_medium=timeline



นานา น่ารู้

เตือน! อย่าใช้ปากกาเมจิกเขียนถุง เสี่ยงเคมีปนเปื้อนอาหารก่อมะเร็ง article
เลี้ยงสัตว์ใน กทม. ต้องรู้! article
อาหารในชีวิตประจำวันที่มีไมโครพลาสติกปนเปื้อน article
ไมโครพลาสติก (Microplastics) คืออะไร article
กระเทียมศึกษา101 ทำความรู้จักกับประเภทของกระเทียมกัน ! article
"ผักกระสัง" ผักอุดมเบต้าแคโรทีน ช่วยสร้างภูมิ ป้องกันหัวใจขาดเลือด เจอแล้วอย่าถอนทิ้ง article
การรักษาสุขภาพและป้องกันโรคช่วงฤดูหนาว article
เตรียมตัวรับกับฤดูหนาว article
ผมร่วงกดจุดหย่งเฉวียน article
เคล็ดลับการเลือกทรงผมให้เข้ากับรูปหน้า article
เราควรทานโปรตีนวันละกี่กรัม? article
ไข่ลวกคืออะไร article
10 ประโยชน์ของไข่ ที่ต้องกินตอนเช้า article
รอบรู้เรื่องไข่
'หูตึง' ต้องทำอย่างไร? article
"เสียงดังกรอบ ดังแกรบ" article
ปวดท้องตรงกลาง เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง? ปวดแบบไหนควรพบแพทย์ article
‘จิงจูฉ่าย’ ผักต้านมะเร็งร้าย ช่วยปรับสมดุลร่างกาย แต่ก็มีข้อควรระวัง! article
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทใน 3 นาที article
ตำแหน่งปวดหัวบอกโรคได้จริงหรือ ? article
เตรียมตัวตายกันได้แล้วทุกคน "ตอนใกล้ตาย” article
ระวัง! สารกันบูดในขนมปังร้านดัง article
กินอย่างไร เมื่อโคเลสเตอรอลในเลือดสูง article
นาฬิกาแขวนผนัง article
อ่านให้จบนะ..ดีมากๆ? เลย article
อ่านแล้วชอบ จึงขอแบ่งปัน article
ช้อนยาวหนึ่งเมตร article
ป้องกันและชะลอ “ข้อเข่าเสื่อม” ก่อนวัย article
ทำไมแสงแดดถึงเป็นอันตราย article
อย่าไปเกลียดใคร ให้แผ่เมตตา article
13 คุณประโยชน์จากวาซาบิที่คุณคาดไม่ถึง article
อุจจาระบอกความผิดปกติ article
ตำนานวันไหว้พระจันทร์ article
ผู้ชาย VS วัยทอง article
ท้องป่อง อ้วนลงพุง article
คาถาบูชาพ่อ แม่สวดทุกวัน article
ขึ้นฉ่าย ปรับประจำเดือนให้เป็นปกติ article
กินอาโวคาโดลดไขมัน ไม่ทำให้อ้วน article
การใช้บุญที่ถูกต้องถึงจะได้ผล article
กระชาย : ชะลอความแก่ article
อ่านแล้วสบายใจ article
เช็คความเสื่อมแต่ละวัย! article
จงใช้ชีวิตให้คุ้มค่า article
ลืมได้ ก็จำได้ article
ยาหมดอายุแล้วสามารถกินได้ไหม? article
จริงหรือไม่ เจ็บคอ บ่อยๆ article
ตอนอยู่ อยากได้เงิน ตอนตาย อยากได้บุญ ตอนอยู่ ทำตามใจกิเลส ตอนตาย เลยกลายเปรต article
คน 8 ประเภท อย่าคบ อย่าช่วย ถอยห่างได้เป็นดี article
เรื่องน่ารู้ของ สีพาสปอร์ตในไทย article
บทเรียนของคนวัย 40 ปีขึ้นไป ที่อยากแก้ไข และเตือนคนรุ่นหลัง article
จริงหรือไม่? กินไก่มาก เป็น “โรคเกาต์” article
ดื่มนมต่างเวลา ได้คุณค่าแตกต่างกัน article
จริงหรือไม่ วางมือถือข้างหมอน เสี่ยง "มะเร็งสมอง" article
คุณสมบัติหลินจือกับสุขภาพร่างกาย article
อ่านเถอะดีมาก เคล็ดลับการดูแลสมอง 10 ประการ จาก "หนูดี วนิษา เรซ" article
จริง หรือ ไม่ ความอ้วน ฮอร์โมนเป็นตัวกำหนด ? article
ทำไมต้องนั่งสมาธิในเวลา "ก่อนนอน หรือ ตอนเช้า" article
เครียดไม่รู้ตัว ภัยเงียบที่อาจอยู่ข้างๆคุณ article
คนเราตายแล้วไปไหนบ้าง ? article
กรรมที่เกิดมาเป็นสัตว์ article
แค่กำมือก็ช่วยความดันได้ article
วันนี้... คือ “ วันที่ดีที่สุด ” article
คำกลอน วันพุธ article
คำกลอน วันอังคาร article
คำกลอน วันจันทร์ article
คำกลอน วันอาทิตย์ article
คำกลอน วันเสาร์
คำกลอน วันศุกร์ article
คำกลอน วันพฤหัสบดี article
ไข่ไก่ แทบจะเป็นเมนูหลักเมนูหนึ่งของคนไทยเลยทีเดียว article
คีโม คือธุรกิจเลือดเย็นของโรงพยาบาลแบบเจ้ามือหวย คนเล่นเสีย เจ้ามือรวย article
วิธีใช้ปุ่มบนเครื่องคิดเลข article
มนุษย์ที่หมดบุญ มี 2 อย่างด้วยกัน article
แผลในปาก เกิดจากอะไร กันแน่!! article
10 อาหารช่วยลดกลิ่นตัว กลิ่นตัวหอมธรรมชาติไม่ต้องพึ่งโรลออน article
10 ข้อคิดยุคใหม่ article
5 อาการนิ้วล๊อคเป็นอย่างไร? article
จำกันได้ไหม เด็กน้อย
จำกันได้ไหม แมวเหมียวแยกเขี้ยวยิงฟัน
จำกันได้ไหม กาดำ article
ระลึก นึกถึง พระคุณ พ่อ แม่
จำกันได้ไหม ยี่สิบม้วนไม้ม้วน
ทบทวนความจำ พยัญชนะไทย article
ท่อง จำ ติดหู ติดใจ กันได้บ้างไหม article
อาหารเสริม กับ การกินเจ article
เทศกาลกินเจ 2564 ตรงกับวันที่ 6 ตุลาคม - 14 ตุลาคม 2564 article
วิตามินและอาหารเสริมควรทานเวลาไหนดี? article
อาการแบบใดเรียก ว่า กำลังอยู่ในภาวะช็อค ! article
ปรัชญาแห่ง “ความเรียบง่าย” ของชีวิต article
รวมบทธรรมะ article
ความดันโลหิตสูง article
ระวัง !!!! Favipiravir มีขายเกลื่อนเนท article
ระวัง! ฟ้าทะลายโจรปลอม เช็กให้ดีก่อนซื้อ
ความเข้าใจผิด ท่านพุทธทาสภิกขุ article
เงินกับเวลา article
10 พฤติกรรมทำลายกระดูกและส่วนสูง ถ้าไม่อยาก เตี้ยลง ควรหยุดทำสิ่งเหล่านี้ article
ไม่น่าเชื่อว่าน้ำตาลในกล้วยตากมากกว่าทุเรียนเกือบเท่าตัว ในขณะที่ article
วิตามิน กินอย่างไรให้ถูกวิธี? article
มนุษย์เราเอ๋ย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

บริษัท กฎหมายปาระมี จำกัด

เลขที่ 511/4 ถนนประชาอุทิศ 117/1 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร (10140)

โทร/Tel : 02 - 8159522, แฟกซ์/Fax : 02 - 8159523, มือถือ/Mobile : 081 - 7936156

อีเมล/E-mail : sawai.prm@gmail.com, เว็บไซต์/Web : www.parameelaw.com