ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ชมรมบริหารงานบุคคล
dot
bulletสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย
bulletชมรมบริหารงานบุคคล
bulletชมรมบริหารงานบุคคล อยุธยา
bulletชมรมบริหารงานบุคคลรังสิต
bulletชมรมผู้บริหารงานบุคคล อมตะนคร
bulletสมาคมการบริหารงานบุคคล (PAAs)
bulletชมรมบริหารงานบุคคลบางพลี
bulletชมรมนักบริหารงานบุคคลพัทยา
bulletชมรมบริหารงานบุคคลยุคใหม่
bulletชมรมผู้บริหารงานบุคคลจังหวัดราชบุรี
bulletงานบริหารงานบุคคล
bulletชมรมงานบริหารงานบุคคลกรุงเทพฯ
bulletชมรมบริหารงานบุคลสุขสวัสดิ์
dot
ติดต่อราชการศาล
dot
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลแรงงานภาค ๒
bulletศาลยุติธรรม
bulletศาลปกครอง
bulletศาลรัฐธรมนูญ
bulletสำนักงานอัยการสูงสุด
bulletกระทรวงยุติธรรม
bulletคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletกรมบังคับคดี
bulletสภาทนายความ
dot
หน่วยงานราชการสำคัญ
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมบัญชีกลาง
bulletกรมพัฒนาธุรกิจกาค้า
bulletกระทรวงอุตสาหกรรม
bulletกรมโรงงานอุตสาหกรรม
bulletกรมส่งเสริมอุตสาหรม
bulletการนิคมอุตสาหกรรม
dot
ลิ้งค์เพื่อนบ้าน
dot
bulletสมบัติลีกัล
bulletเอกเซลสำหรับงาน HR โดย อ.สำเริง
bulletบทความดี ๆ จากโกป้อม
dot
อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
dot
dot
Newsletter

dot


พยากรณ์อากาศวันนี้
..................................


ราคาน้ำมันวันนี้
..................................



อาหารในชีวิตประจำวันที่มีไมโครพลาสติกปนเปื้อน article
อาหารในชีวิตประจำวันที่มีไมโครพลาสติกปนเปื้อน
 
ชีวิตของเราเต็มไปด้วยพลาสติก! รายงานฉบับล่าสุดแสดงให้เห็นว่าผักผลไม้ที่เราบริโภคในทุกวันนั้นปนเปื้อนไปด้วยไมโครพลาสติก ถึงเวลาแล้วที่เราเลิกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกและสนับสนุนการวิจัยที่ว่ามลพิษพลาสติกส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพ ยิ่งเราปล่อยเวลาผ่านไปนานเท่าไหร่เราก็ยิ่งได้รับพลาสติกเข้าสู่ร่างกายมากเท่านั้น
 
1. ผักและผลไม้

งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยคาทาเนียร์ ประเทศอิตาลี พบอนุภาคพลาสติกเล็ก ๆ ในผักและผลไม้เช่นแครอท ผักกาดหอม แอปเปิล และลูกแพร์

โดยพบอนุภาคพลาสติกสูงสุดในแอปเปิลเฉลี่ย 195,500 อนุภาคต่อกรัม ในขณะที่ลูกแพร์มีอนุภาคพลาสติกเฉลี่ยประมาณ 189,500 อนุภาคต่อกรัม บรอกโคลีและแครอทเป็นผักที่มีการปนเปื้อนมากที่สุดโดยเฉลี่ยมากกว่า 100,000 อนุภาคพลาสติกต่อกรัม

งานวิจัยสองชิ้นที่ตีพิมพ์ก่อนหน้านี้พบว่า ไมโครพลาสติกสามารถแทรกซึมเข้าไปในรากของผักกาดหอมและต้นข้าวสาลี ในขณะที่พลาสติกนาโนถูกดูดซับโดยรากพืช ผักและผลไม้สามารถสะสมไมโครพลาสติกได้ผ่านการดูดซึมจากน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนไมโครพลาสติก

ซีออน ชาน ผู้ประสานงานรณรงค์ จากกรีนพีซ เอเชียตะวันออกกล่าวว่า ทันทีที่เรากัดแอปเปิล ร่างกายจะรับไมโครพลาสติกไปพร้อมกัน เพื่อลดมลพิษพลาสติก บริษัทต่าง ๆ ควรลดการใช้พลาสติกและลดสร้างขยะในห่วงโซ่การผลิตของตน ซูเปอร์มาร์เก็ตก็เช่นเดียวกัน ยิ่งเราลดการใช้พลาสติกได้เร็วเท่าไหร่ พวกเราก็ยิ่งบริโภคไมโครพลาสติกน้อยลงเท่านั้น” 

2. เกลือ

สภาผู้บริโภคของฮ่องกงพบไมโครพลาสติกถึง 20% ของตัวอย่างผลิตภัณฑ์เกลือที่ทดสอบในเดือนเมษายนปี 2563 พบไมโครพลาสติกตั้งแต่ 114-17,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมเกลือที่ทดสอบ ตัวอย่างที่ผ่านการทดสอบบางตัวอย่างยังแสดงให้เห็นว่าไมโครพลาสติกมาจากบรรจุภัณฑ์โพลีโพรพีลีน (PP) แบบใช้แล้วทิ้ง

การศึกษาในปี 2561 โดยมหาวิทยาลัยแห่งชาติอินชอนเกาหลีใต้และกรีนพีซ เอเชียตะวันออก พบว่า กว่าร้อยละ 90 ของตัวอย่างเกลือ 39 แบรนด์ที่มาจาก 21 ประเทศมีไมโครพลาสติก เกลือที่มีไมโครพลาสติกยังคงมีจำหน่ายอยู่ตามซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านขายของชำ หรือร้านค้าออนไลน์ จากการวิจัยระหว่างประเทศพบว่ามีความเป็นไปได้ว่ามนุษย์อาจบริโภคอนุภาคไมโครพลาสติกประมาณ 20,000 อนุภาคต่อปีโดยมีการบริโภคเกลือเฉลี่ย 10 กรัมต่อวัน

3. ปลากระบอกสีเทา

จากการตรวจสอบโดยมหาวิทยาลัยการศึกษาแห่งฮ่องกงในปี 2561 พบชิ้นส่วนไมโครพลาสติกกว่า 60% จากจำนวนปลากระบอกสีเทาที่นำมาตรวจสอบทั้งหมดปลาแต่ละตัวมีเศษพลาสติกเฉลี่ย 4.3 ชิ้นบางตัวพบเศษพลาสติกถึง 80 ชิ้น นอกจากนี้ยังพบเศษพลาสติกในปลาน้ำเค็มและปลากระบอกสีเทาที่ซื้อจากตลาดปลาหลากหลายแห่ง

 

พลาสติกเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อาหารได้อย่างไร

 

 

ไมโครพลาสติกเป็นชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็กที่มีความยาวน้อยกว่า 5 มิลลิเมตรซึ่งส่วนใหญ่มาจากพลาสติกที่ใช้แล้วทิ้ง เช่น บรรจุภัณฑ์ในซูเปอร์มาร์เก็ต ถุงใส่ผลไม้หรือขนมปัง ฯลฯ ในแต่ละปี ขยะบรรจุภัณฑ์พลาสติกมากกว่า 112 ตันหลุดรอดออกสู่ทะเลฮ่องกง บรรจุภัณฑ์แบบใช้แล้วทิ้งได้กลายเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของปัญหามลพิษจากพลาสติก

มีไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่เต็มมหาสมุทรเนื่องจากมีขนาดเล็กเกินไปจนหลุดรอดจากการกรองระหว่างการบำบัดน้ำเสีย ขยะพลาสติกไม่สามารถละลายในน้ำได้ แต่แตกตัวเป็นอนุภาคขนาดเล็ก จนถึงเล็กมาก ๆ ส่วนมากจะเป็นอาหารของแพลงก์ตอนและหอย และนี่คือสาเหตุว่าทำไมไมโครพลาสติกถึงเข้าไปในอาหารและร่างกายของมนุษย์ได้

 
ผลกระทบที่เป็นอันตรายของมลพิษไมโครพลาสติกต่อสุขภาพของมนุษย์

ไมโครพลาสติกทำลายสุขภาพของสิ่งมีชีวิตในน้ำเช่น ความผิดปกติของลำไส้ในปลา ไมโครพลาสติกอาจมีสารเติมแต่งที่เป็นพิษและเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สามารถยึดติดกับสารมลพิษอินทรีย์ (POPs) ที่คงอยู่เช่น สารกำจัดศัตรูพืช พลาสติไซเซอร์ (หรือ สารเติมแต่งที่ใส่ลงในกระบวนการผลิตพลาสติกเพื่อทำให้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไป) หรือ PEและ PP หากเรากินอาหารที่ปนเปื้อนพลาสติกหรือไมโครพลาสติกเข้าไป สุขภาพของเราก็จะได้รับความเสี่ยงตามไปด้วย

 
 

ทางออกของวิกฤติมลพิษพลาสติก

 

ทางออกคือ เราจะต้องลดใช้พลาสติก ปฏิเสธบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เกินความจำเป็น และปฏิเสธพลาสติกแบบใช้แล้วทิ้งในชีวิตประจำวันของเรา ร้านค้าต่าง ๆ สามารถนำรูปแบบการยืม-คืนขวดพลาสติกมาใช้ หรือใช้ระบบรีฟิล ซึ่งก็คือ ผู้บริโภคสามารถนำขวดหรือบรรจุภัณฑ์มาเติมผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ได้เอง โดยการเพิ่มจุดการเติม (Refill Station) ตามบริเวณของศูนย์การค้า หรือในร้าน

เราต้องการการมีส่วนร่วมของคุณในการลดหรือเลิกใช้พลาสติกในขณะที่ซื้อของที่ซูเปอร์มาร์เก็ต ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเราเอง และร่วมกันผลักดันให้ผู้ผลิตมีความรับผิดชอบกับบรรจุภัณฑ์ของตนเองด้วยเช่นกัน

ข้อมูลดีดี :greenpeace 




นานา น่ารู้

เตือน! อย่าใช้ปากกาเมจิกเขียนถุง เสี่ยงเคมีปนเปื้อนอาหารก่อมะเร็ง article
เลี้ยงสัตว์ใน กทม. ต้องรู้! article
ไมโครพลาสติก (Microplastics) คืออะไร article
กระเทียมศึกษา101 ทำความรู้จักกับประเภทของกระเทียมกัน ! article
"ผักกระสัง" ผักอุดมเบต้าแคโรทีน ช่วยสร้างภูมิ ป้องกันหัวใจขาดเลือด เจอแล้วอย่าถอนทิ้ง article
การรักษาสุขภาพและป้องกันโรคช่วงฤดูหนาว article
เตรียมตัวรับกับฤดูหนาว article
ผมร่วงกดจุดหย่งเฉวียน article
เคล็ดลับการเลือกทรงผมให้เข้ากับรูปหน้า article
เราควรทานโปรตีนวันละกี่กรัม? article
ไข่ลวกคืออะไร article
10 ประโยชน์ของไข่ ที่ต้องกินตอนเช้า article
รอบรู้เรื่องไข่
'หูตึง' ต้องทำอย่างไร? article
"เสียงดังกรอบ ดังแกรบ" article
ปวดท้องตรงกลาง เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง? ปวดแบบไหนควรพบแพทย์ article
‘จิงจูฉ่าย’ ผักต้านมะเร็งร้าย ช่วยปรับสมดุลร่างกาย แต่ก็มีข้อควรระวัง! article
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทใน 3 นาที article
ตำแหน่งปวดหัวบอกโรคได้จริงหรือ ? article
เตรียมตัวตายกันได้แล้วทุกคน "ตอนใกล้ตาย” article
ระวัง! สารกันบูดในขนมปังร้านดัง article
กินอย่างไร เมื่อโคเลสเตอรอลในเลือดสูง article
นาฬิกาแขวนผนัง article
อ่านให้จบนะ..ดีมากๆ? เลย article
อ่านแล้วชอบ จึงขอแบ่งปัน article
ช้อนยาวหนึ่งเมตร article
ป้องกันและชะลอ “ข้อเข่าเสื่อม” ก่อนวัย article
ทำไมแสงแดดถึงเป็นอันตราย article
อย่าไปเกลียดใคร ให้แผ่เมตตา article
13 คุณประโยชน์จากวาซาบิที่คุณคาดไม่ถึง article
อุจจาระบอกความผิดปกติ article
ตำนานวันไหว้พระจันทร์ article
ผู้ชาย VS วัยทอง article
ท้องป่อง อ้วนลงพุง article
คาถาบูชาพ่อ แม่สวดทุกวัน article
ขึ้นฉ่าย ปรับประจำเดือนให้เป็นปกติ article
กินอาโวคาโดลดไขมัน ไม่ทำให้อ้วน article
การใช้บุญที่ถูกต้องถึงจะได้ผล article
กระชาย : ชะลอความแก่ article
อ่านแล้วสบายใจ article
เช็คความเสื่อมแต่ละวัย! article
จงใช้ชีวิตให้คุ้มค่า article
ลืมได้ ก็จำได้ article
ยาหมดอายุแล้วสามารถกินได้ไหม? article
จริงหรือไม่ เจ็บคอ บ่อยๆ article
ตอนอยู่ อยากได้เงิน ตอนตาย อยากได้บุญ ตอนอยู่ ทำตามใจกิเลส ตอนตาย เลยกลายเปรต article
คน 8 ประเภท อย่าคบ อย่าช่วย ถอยห่างได้เป็นดี article
เรื่องน่ารู้ของ สีพาสปอร์ตในไทย article
บทเรียนของคนวัย 40 ปีขึ้นไป ที่อยากแก้ไข และเตือนคนรุ่นหลัง article
จริงหรือไม่? กินไก่มาก เป็น “โรคเกาต์” article
ดื่มนมต่างเวลา ได้คุณค่าแตกต่างกัน article
จริงหรือไม่ วางมือถือข้างหมอน เสี่ยง "มะเร็งสมอง" article
คุณสมบัติหลินจือกับสุขภาพร่างกาย article
อ่านเถอะดีมาก เคล็ดลับการดูแลสมอง 10 ประการ จาก "หนูดี วนิษา เรซ" article
จริง หรือ ไม่ ความอ้วน ฮอร์โมนเป็นตัวกำหนด ? article
ทำไมต้องนั่งสมาธิในเวลา "ก่อนนอน หรือ ตอนเช้า" article
เครียดไม่รู้ตัว ภัยเงียบที่อาจอยู่ข้างๆคุณ article
คนเราตายแล้วไปไหนบ้าง ? article
กรรมที่เกิดมาเป็นสัตว์ article
แค่กำมือก็ช่วยความดันได้ article
วันนี้... คือ “ วันที่ดีที่สุด ” article
คำกลอน วันพุธ article
คำกลอน วันอังคาร article
คำกลอน วันจันทร์ article
คำกลอน วันอาทิตย์ article
คำกลอน วันเสาร์
คำกลอน วันศุกร์ article
คำกลอน วันพฤหัสบดี article
ไข่ไก่ แทบจะเป็นเมนูหลักเมนูหนึ่งของคนไทยเลยทีเดียว article
คีโม คือธุรกิจเลือดเย็นของโรงพยาบาลแบบเจ้ามือหวย คนเล่นเสีย เจ้ามือรวย article
วิธีใช้ปุ่มบนเครื่องคิดเลข article
มนุษย์ที่หมดบุญ มี 2 อย่างด้วยกัน article
แผลในปาก เกิดจากอะไร กันแน่!! article
10 อาหารช่วยลดกลิ่นตัว กลิ่นตัวหอมธรรมชาติไม่ต้องพึ่งโรลออน article
10 ข้อคิดยุคใหม่ article
5 อาการนิ้วล๊อคเป็นอย่างไร? article
จำกันได้ไหม เด็กน้อย
จำกันได้ไหม แมวเหมียวแยกเขี้ยวยิงฟัน
จำกันได้ไหม กาดำ article
ระลึก นึกถึง พระคุณ พ่อ แม่
จำกันได้ไหม ยี่สิบม้วนไม้ม้วน
ทบทวนความจำ พยัญชนะไทย article
ท่อง จำ ติดหู ติดใจ กันได้บ้างไหม article
อาหารเสริม กับ การกินเจ article
เทศกาลกินเจ 2564 ตรงกับวันที่ 6 ตุลาคม - 14 ตุลาคม 2564 article
วิตามินและอาหารเสริมควรทานเวลาไหนดี? article
อาการแบบใดเรียก ว่า กำลังอยู่ในภาวะช็อค ! article
ปรัชญาแห่ง “ความเรียบง่าย” ของชีวิต article
รวมบทธรรมะ article
ความดันโลหิตสูง article
ระวัง !!!! Favipiravir มีขายเกลื่อนเนท article
ระวัง! ฟ้าทะลายโจรปลอม เช็กให้ดีก่อนซื้อ
ความเข้าใจผิด ท่านพุทธทาสภิกขุ article
เงินกับเวลา article
10 พฤติกรรมทำลายกระดูกและส่วนสูง ถ้าไม่อยาก เตี้ยลง ควรหยุดทำสิ่งเหล่านี้ article
ไม่น่าเชื่อว่าน้ำตาลในกล้วยตากมากกว่าทุเรียนเกือบเท่าตัว ในขณะที่ article
วิตามิน กินอย่างไรให้ถูกวิธี? article
มนุษย์เราเอ๋ย article
อารมณ์ไม่ดี article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

บริษัท กฎหมายปาระมี จำกัด

เลขที่ 511/4 ถนนประชาอุทิศ 117/1 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร (10140)

โทร/Tel : 02 - 8159522, แฟกซ์/Fax : 02 - 8159523, มือถือ/Mobile : 081 - 7936156

อีเมล/E-mail : sawai.prm@gmail.com, เว็บไซต์/Web : www.parameelaw.com